ออนไลน์ : 10
หัวข้อ :: อำนาจหน้าที่
อำนาจหน้าที่
ขององค์การบริหารส่วนตำบล
**************************************************
**************************************************
องค์การบริหารส่วนตำบล มีหน้าที่ตามพระราชบัญญัติสภาตำบล และองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537 และแก้ไขเพิ่มเติมฉบับที่ 7 พ.ศ. 2562
องค์การบริหารส่วนตำบลมีหน้าที่ในการพัฒนาตำบลทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม ตามมาตรา 66
ภายใต้บังคับแห่งกฎหมายมาตรา 67 องค์การบริหารส่วนตำบล มีหน้าที่ต้องทำให้เขตองค์การบริหารส่วนตำบล ดังต่อไปนี้
(1) จัดให้มีและบำรุงรักษาทางน้ำและทางบก
(1/1) 66 รักษาความเป็นระเบียบเรียบร้อย การดูแลการจราจร และส่งเสริมสนับสนุนหน่วยงานอื่นในการปฏิบัติหน้าที่ดังกล่าว
(2) รักษาความสะอาดของถนนทางน้ำ ทางเดิน และที่สาธารณะ รวมทั้งกำจัดมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล
(3) ป้องกันโรคและระงับโรคติดต่อ
(4) ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
(5) 67 จัดการส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษาศาสนาวัฒนธรรมและการฝึกอบรมให้แก่ ประชาชน รวมทั้งการจัดการหรือสนับสนุนการดูแลและพัฒนาเด็กเล็กตามแนวทางที่เสนอแนะจากกองทุน เพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา
(6) ส่งเสริมการพัฒนาสตรีเด็กเยาวชนผู้สูงอายุและผู้พิการ
(7) คุ้มครองดูแลและบำรุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติสิ่งและแวดล้อม
(8) 68 บำรุงรักษาศิลปะจารีตประเพณีภูมิปัญญาท้องถิ่นและวัฒนธรรมอันดีของท้องถิ่น
(9) ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่ทางราชการมอบหมาย โดยจัดสรรงบประมาณหรือบุคลากรให้ตามความ จำเป็นและสมควร
ภายใต้บังคับแห่งกฎหมายมาตรา 67 องค์การบริหารส่วนตำบล มีหน้าที่ต้องทำให้เขตองค์การบริหารส่วนตำบล ดังต่อไปนี้
(1) จัดให้มีและบำรุงรักษาทางน้ำและทางบก
(1/1) 66 รักษาความเป็นระเบียบเรียบร้อย การดูแลการจราจร และส่งเสริมสนับสนุนหน่วยงานอื่นในการปฏิบัติหน้าที่ดังกล่าว
(2) รักษาความสะอาดของถนนทางน้ำ ทางเดิน และที่สาธารณะ รวมทั้งกำจัดมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล
(3) ป้องกันโรคและระงับโรคติดต่อ
(4) ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
(5) 67 จัดการส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษาศาสนาวัฒนธรรมและการฝึกอบรมให้แก่ ประชาชน รวมทั้งการจัดการหรือสนับสนุนการดูแลและพัฒนาเด็กเล็กตามแนวทางที่เสนอแนะจากกองทุน เพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา
(6) ส่งเสริมการพัฒนาสตรีเด็กเยาวชนผู้สูงอายุและผู้พิการ
(7) คุ้มครองดูแลและบำรุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติสิ่งและแวดล้อม
(8) 68 บำรุงรักษาศิลปะจารีตประเพณีภูมิปัญญาท้องถิ่นและวัฒนธรรมอันดีของท้องถิ่น
(9) ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่ทางราชการมอบหมาย โดยจัดสรรงบประมาณหรือบุคลากรให้ตามความ จำเป็นและสมควร
65 มาตรา 65 แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติสภาตำบล และองค์การบริหารส่วนตำบล (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2546
66 มาตรา 67 (1/1) เพิ่มโดยพระราชบัญญัติสภาตำบล และองค์การบริหารส่วนตำบล (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2562
67 มาตรา 67 (5) แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติสภาตำบล และองค์การบริหารส่วนตำบล (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2562
68 มาตรา 67 (8) แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติสภาตำบล และองค์การบริหารส่วนตำบล (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2542
ภายใต้บังคับแห่งกฎหมายมาตรา 68 องค์การบริหารส่วนตำบลอาจจัดทำกิจกรรมในเขตองค์การบริหารส่วนตำบล ดังต่อไปนี้
(1) จัดให้มีน้ำเพื่อการอุปโภคบริโภคและการเกษตร
(2) ให้มีและบำรุงการไฟฟ้า หรือแสงสว่างโดยวิธีอื่น
(3) ให้มีและบำรุงรักษาทางระบายน้ำ
(4) ให้มีและบำรุงสถานที่ประชุม การกีฬาการพักผ่อนหย่อนใจและสวนสาธารณะ
(5) ให้มีและส่งเสริมกลุ่มเกษตรกรและกิจการสหกรณ์
(6) ส่งเสริมให้มีอุตสาหกรรมในครอบครัว
(7) บำรุงและส่งเสริมการประกอบอาชีพของราษฎร
(8) การคุ้มครองดูแลและรักษาทรัพย์สิน อันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดิน
(9) หาผลประโยชน์จากทรัพย์สินขององค์การบริหารส่วนตำบล
(10) ให้มีตลาดท่าเทียบเรือและท่าข้าม
(11) กิจการเกี่ยวกับการพาณิชย์
(12) 70 การท่องเที่ยว
(13) 71 การผังเมือง
อำนาจหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนตำบล ตามมาตรา 66 มาตรา 67 และมาตรา 68 นั้น ไม่เป็นการตัดอำนาจหน้าที่ของกระทรวง ทบวง กรม หรือองค์การ/หน่วยงานของรัฐ ในอันที่จะดำเนินกิจการใดๆ เพื่อประโยชน์ของประชาชนในตำบล แต่ต้องแจ้งให้องค์การบริหารส่วนตำบลทราบล่วงหน้าตามสมควร ในกรณีนี้ หากองค์การบริหารส่วนตำบลมีความเห็นเกี่ยวกับการดำเนินกิจการดังกล่าว ให้กระทรวง ทบวง กรม หรือองค์การหรือหน่วยงานของรัฐนำความเห็นขององค์การบริหารส่วนตำบลไปประกอบการพิจารณาดำเนินกิจการนั้นด้วย
มาตรา 69/172 การปฏิบัติงานตามอำนาจหน้าที่ ขององค์การบริหารส่วนตำบล ต้องเป็นไปเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน โดยใช้วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี และให้คำนึงถึงการมีส่วนร่วมของประชาชน ในการจัดทำแผนพัฒนาองค์การบริหารส่วนตำบล การจัดทำงบประมาณ การจัดซื้อจัดจ้าง การตรวจสอบ การประเมินผลการปฏิบัติงาน และการเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร
69มาตรา 67 (9) เพิ่มโดยพระราชบัญญัติสภาต าบล และองค์การบริหารส่วนต าบล (ฉบับที่ 3) พ.ศ 2542
70มาตรา 68 (12) เพิ่มโดยพระราชบัญญัติสภาต าบล และองค์การบริหารส่วนต าบล (ฉบับที่ 3) พ.ศ 2542
71มาตรา 68 (13) เพิ่มโดยพระราชบัญญัติสภาต าบล และองค์การบริหารส่วนต าบล (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2542
72มาตรา 69/1 เพิ่มโดยพระราชบัญญัติสภาต าบล และองค์การบริหารส่วนต าบล (ฉบับที่ 5) พ.ศ 2546
อำนาจหน้าที่ ตามแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจ
พระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 กำหนดให้ องค์การบริหารส่วนตำบล มีอำนาจและหน้าที่ในการจัดระบบการบริการสาธารณะ เพื่อประโยชน์ของประชาชนในท้องถิ่นของตนเอง ตามมาตรา 16 ดังนี้
(1) การจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่นของตนเอง
(2) การจัดให้มีและบำรุงรักษาทางบก ทางทางน้ำและทางระบายน้ำ
(3) การจัดให้มีการควบคุมตลาดท่าเทียบเรือท่าข้ามและที่จอด
(4) การสาธารณูปโภคและการก่อสร้างอื่น
(5) การสาธารณูปการ
(6) การส่งเสริมการฝึกและการประกอบอาชีพ
(7) คุ้มครองดูแลและบำรุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
(8) การส่งเสริมการท่องเที่ยว
(9) การจัดการศึกษาฯ
(10) การสังคมสงเคราะห์ และการพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็ก สตรี คนชราและผู้ด้อยโอกาส
(11) การบำรุงรักษาศิลปะ จารีตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่น และวัฒนธรรมอันดีของท้องถิ่น
(12) การปรับปรุงแหล่งชุมชนแออัดและการจัดการเกี่ยวกับที่อยู่อาศัย
(13) การจัดให้มีและบำรุงรักษาสถานที่พักผ่อนหย่อนใจ
(14) การส่งเสริมกีฬาฯ
(15) การส่งเสริมประชาธิปไตยความเสมอภาคและสิทธิเสรีภาพของประชาชน
(16) ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของราษฎรในการพัฒนาท้องถิ่น
(17) การรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมือง
(18) การกำจัดมูลฝอยสิ่งปฏิกูลและน้ำเสีย
(19) การสาธารณสุข การอนามัยครอบครัวและการรักษาพยาบาล
(20) การจัดให้มีและควบคุมสุสานและฐาปนะสถาน
(21) การควบคุมการเลี้ยงสัตว์
(22) การจัดให้มีและควบคุมการฆ่าสัตว์
(23) การรักษาความปลอดภัยความเป็นระเบียบเรียบร้อยและการอนามัยโรงมหรสพ และสาธารณสถานอื่น
(24) การจัดการบำรุงรักษาและการใช้ประโยชน์จากป่าไม้ ที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อม
(25) การผังเมือง
(26) การขนส่งและการวิศวกรรมจราจร
(27) การดูแลรักษาที่สาธารณะ
(28) การควบคุมอาคาร
(29) การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
(30) การรักษาความสงบเรียบร้อย ส่งเสริม สนับสนุน ป้องกัน การรักษาความปลอดภัยในชีวิต และทรัพย์สิน
(31) กิจอื่นใด ที่เป็นผลประโยชน์ของประชาชนในท้องถิ่น ตามที่คณะกรรมการกำหนด
องค์การบริหารส่วนตำบล มีความสำคัญอย่างไร
องค์การบริหารส่วนตำบลมีความสำคัญต่อชุมชน ดังนี้
(1) เป็นองค์กรที่ทำหน้าที่พัฒนาตำบลให้เจริญก้าวหน้าทางด้านเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม
(2) เป็นหน่วยงานประสานทรัพยากร ระหว่างองค์การบริหารส่วนตำบล กับท้องถิ่นอื่นๆ รวมทั้งหน่วยราชการและหน่วยเอกชน
(3) เป็นเวทีประชาธิปไตยของประชาชน ในการเลือกสมาชิกสภาท้องถิ่นองค์การบริหารส่วนตำบลเข้าไปมีส่วนร่วมในการตัดสินใจใช้งบประมาณรายได้ ทรัพย์สิน และระดมทุนเพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาท้องถิ่น
(4) เป็นการส่งเสริมและพัฒนาคนในท้องถิ่นให้ทำงานเพื่อท้องถิ่นของตน ก่อให้เกิดการจ้างงานขึ้นในท้องถิ่น เช่น สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบล พนักงานส่วนตตำบล และลูกจ้างขององค์การบริหารส่วนตำบล
(5) ส่งเสริมสิทธิและหน้าที่ของประชาชน ให้มีส่วนร่วมในการพัฒนาท้องถิ่น ตรวจสอบการทำงาน และใช้สิทธิ์ถอดถอน ผู้แทนของตน สมาชิกสภา นายกองค์การบริหารส่วนตำบล ที่ไม่ทำงานเพื่อประโยชน์ของท้องถิ่น
องค์การบริหารส่วนตำบลมีโครงสร้างอย่างไร
โครงสร้างองค์การบริหารส่วนตำบลประกอบด้วย
(1) สภาองค์การบริหารส่วนตำบล สภาองค์การบริหารส่วนตำบล
(2) คณะผู้บริหารองค์การบริหารส่วนตำบล (นายกองค์การบริหารส่วนตำบล และนายกองค์การบริหารส่วนตำบล)
สมาชิกองค์การบริหารส่วนตำบล มีหน้าที่อะไรบ้าง
สมาชิกองค์การบริหารส่วนตตำบล มีหน้าที่
(1) ให้ความเห็นชอบแผนพัฒนาตำบล
(2) ให้ความเห็นชอบร่างข้อบังคับตำบล / ร่างข้อบังคับงบประมาณรายจ่ายประจำปี
(3) ควบคุมการทำงานของคณะผู้บริหาร
(4) เข้าร่วมประชุมสภาองค์การบริหารส่วนตำบลตามสมัยประชุม
คณะผู้บริหารองค์การบริหารส่วนตำบล (นายกองค์การบริหารส่วนตำบล รองนายกองค์การบริหารส่วนตำบล และเลขานุการองค์การบริหารส่วนตำบล) มีหน้าที่อะไรบ้าง
คณะผุ้บริหารองค์การบริหารส่วนตำบล
(1) บริหารงานขององค์การบริหารส่วนตำบล ให้เป็นไปตามข้อบังคับและแผนพัฒนาตำบล
(2) จัดท าแผนพัฒนาตำบลและข้อบังคับงบประมาณรายจ่ายประจำปี เสนอตอบสภาองค์การบริหารส่วนตำบล
(3) รายงานผลการทำงานและการใช้เงินสภาองค์การบริหารส่วนตำบลทราบ อย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง
66 มาตรา 67 (1/1) เพิ่มโดยพระราชบัญญัติสภาตำบล และองค์การบริหารส่วนตำบล (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2562
67 มาตรา 67 (5) แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติสภาตำบล และองค์การบริหารส่วนตำบล (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2562
68 มาตรา 67 (8) แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติสภาตำบล และองค์การบริหารส่วนตำบล (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2542
ภายใต้บังคับแห่งกฎหมายมาตรา 68 องค์การบริหารส่วนตำบลอาจจัดทำกิจกรรมในเขตองค์การบริหารส่วนตำบล ดังต่อไปนี้
(1) จัดให้มีน้ำเพื่อการอุปโภคบริโภคและการเกษตร
(2) ให้มีและบำรุงการไฟฟ้า หรือแสงสว่างโดยวิธีอื่น
(3) ให้มีและบำรุงรักษาทางระบายน้ำ
(4) ให้มีและบำรุงสถานที่ประชุม การกีฬาการพักผ่อนหย่อนใจและสวนสาธารณะ
(5) ให้มีและส่งเสริมกลุ่มเกษตรกรและกิจการสหกรณ์
(6) ส่งเสริมให้มีอุตสาหกรรมในครอบครัว
(7) บำรุงและส่งเสริมการประกอบอาชีพของราษฎร
(8) การคุ้มครองดูแลและรักษาทรัพย์สิน อันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดิน
(9) หาผลประโยชน์จากทรัพย์สินขององค์การบริหารส่วนตำบล
(10) ให้มีตลาดท่าเทียบเรือและท่าข้าม
(11) กิจการเกี่ยวกับการพาณิชย์
(12) 70 การท่องเที่ยว
(13) 71 การผังเมือง
อำนาจหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนตำบล ตามมาตรา 66 มาตรา 67 และมาตรา 68 นั้น ไม่เป็นการตัดอำนาจหน้าที่ของกระทรวง ทบวง กรม หรือองค์การ/หน่วยงานของรัฐ ในอันที่จะดำเนินกิจการใดๆ เพื่อประโยชน์ของประชาชนในตำบล แต่ต้องแจ้งให้องค์การบริหารส่วนตำบลทราบล่วงหน้าตามสมควร ในกรณีนี้ หากองค์การบริหารส่วนตำบลมีความเห็นเกี่ยวกับการดำเนินกิจการดังกล่าว ให้กระทรวง ทบวง กรม หรือองค์การหรือหน่วยงานของรัฐนำความเห็นขององค์การบริหารส่วนตำบลไปประกอบการพิจารณาดำเนินกิจการนั้นด้วย
มาตรา 69/172 การปฏิบัติงานตามอำนาจหน้าที่ ขององค์การบริหารส่วนตำบล ต้องเป็นไปเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน โดยใช้วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี และให้คำนึงถึงการมีส่วนร่วมของประชาชน ในการจัดทำแผนพัฒนาองค์การบริหารส่วนตำบล การจัดทำงบประมาณ การจัดซื้อจัดจ้าง การตรวจสอบ การประเมินผลการปฏิบัติงาน และการเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร
69มาตรา 67 (9) เพิ่มโดยพระราชบัญญัติสภาต าบล และองค์การบริหารส่วนต าบล (ฉบับที่ 3) พ.ศ 2542
70มาตรา 68 (12) เพิ่มโดยพระราชบัญญัติสภาต าบล และองค์การบริหารส่วนต าบล (ฉบับที่ 3) พ.ศ 2542
71มาตรา 68 (13) เพิ่มโดยพระราชบัญญัติสภาต าบล และองค์การบริหารส่วนต าบล (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2542
72มาตรา 69/1 เพิ่มโดยพระราชบัญญัติสภาต าบล และองค์การบริหารส่วนต าบล (ฉบับที่ 5) พ.ศ 2546
อำนาจหน้าที่ ตามแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจ
พระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 กำหนดให้ องค์การบริหารส่วนตำบล มีอำนาจและหน้าที่ในการจัดระบบการบริการสาธารณะ เพื่อประโยชน์ของประชาชนในท้องถิ่นของตนเอง ตามมาตรา 16 ดังนี้
(1) การจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่นของตนเอง
(2) การจัดให้มีและบำรุงรักษาทางบก ทางทางน้ำและทางระบายน้ำ
(3) การจัดให้มีการควบคุมตลาดท่าเทียบเรือท่าข้ามและที่จอด
(4) การสาธารณูปโภคและการก่อสร้างอื่น
(5) การสาธารณูปการ
(6) การส่งเสริมการฝึกและการประกอบอาชีพ
(7) คุ้มครองดูแลและบำรุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
(8) การส่งเสริมการท่องเที่ยว
(9) การจัดการศึกษาฯ
(10) การสังคมสงเคราะห์ และการพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็ก สตรี คนชราและผู้ด้อยโอกาส
(11) การบำรุงรักษาศิลปะ จารีตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่น และวัฒนธรรมอันดีของท้องถิ่น
(12) การปรับปรุงแหล่งชุมชนแออัดและการจัดการเกี่ยวกับที่อยู่อาศัย
(13) การจัดให้มีและบำรุงรักษาสถานที่พักผ่อนหย่อนใจ
(14) การส่งเสริมกีฬาฯ
(15) การส่งเสริมประชาธิปไตยความเสมอภาคและสิทธิเสรีภาพของประชาชน
(16) ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของราษฎรในการพัฒนาท้องถิ่น
(17) การรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมือง
(18) การกำจัดมูลฝอยสิ่งปฏิกูลและน้ำเสีย
(19) การสาธารณสุข การอนามัยครอบครัวและการรักษาพยาบาล
(20) การจัดให้มีและควบคุมสุสานและฐาปนะสถาน
(21) การควบคุมการเลี้ยงสัตว์
(22) การจัดให้มีและควบคุมการฆ่าสัตว์
(23) การรักษาความปลอดภัยความเป็นระเบียบเรียบร้อยและการอนามัยโรงมหรสพ และสาธารณสถานอื่น
(24) การจัดการบำรุงรักษาและการใช้ประโยชน์จากป่าไม้ ที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อม
(25) การผังเมือง
(26) การขนส่งและการวิศวกรรมจราจร
(27) การดูแลรักษาที่สาธารณะ
(28) การควบคุมอาคาร
(29) การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
(30) การรักษาความสงบเรียบร้อย ส่งเสริม สนับสนุน ป้องกัน การรักษาความปลอดภัยในชีวิต และทรัพย์สิน
(31) กิจอื่นใด ที่เป็นผลประโยชน์ของประชาชนในท้องถิ่น ตามที่คณะกรรมการกำหนด
องค์การบริหารส่วนตำบล มีความสำคัญอย่างไร
องค์การบริหารส่วนตำบลมีความสำคัญต่อชุมชน ดังนี้
(1) เป็นองค์กรที่ทำหน้าที่พัฒนาตำบลให้เจริญก้าวหน้าทางด้านเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม
(2) เป็นหน่วยงานประสานทรัพยากร ระหว่างองค์การบริหารส่วนตำบล กับท้องถิ่นอื่นๆ รวมทั้งหน่วยราชการและหน่วยเอกชน
(3) เป็นเวทีประชาธิปไตยของประชาชน ในการเลือกสมาชิกสภาท้องถิ่นองค์การบริหารส่วนตำบลเข้าไปมีส่วนร่วมในการตัดสินใจใช้งบประมาณรายได้ ทรัพย์สิน และระดมทุนเพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาท้องถิ่น
(4) เป็นการส่งเสริมและพัฒนาคนในท้องถิ่นให้ทำงานเพื่อท้องถิ่นของตน ก่อให้เกิดการจ้างงานขึ้นในท้องถิ่น เช่น สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบล พนักงานส่วนตตำบล และลูกจ้างขององค์การบริหารส่วนตำบล
(5) ส่งเสริมสิทธิและหน้าที่ของประชาชน ให้มีส่วนร่วมในการพัฒนาท้องถิ่น ตรวจสอบการทำงาน และใช้สิทธิ์ถอดถอน ผู้แทนของตน สมาชิกสภา นายกองค์การบริหารส่วนตำบล ที่ไม่ทำงานเพื่อประโยชน์ของท้องถิ่น
องค์การบริหารส่วนตำบลมีโครงสร้างอย่างไร
โครงสร้างองค์การบริหารส่วนตำบลประกอบด้วย
(1) สภาองค์การบริหารส่วนตำบล สภาองค์การบริหารส่วนตำบล
(2) คณะผู้บริหารองค์การบริหารส่วนตำบล (นายกองค์การบริหารส่วนตำบล และนายกองค์การบริหารส่วนตำบล)
สมาชิกองค์การบริหารส่วนตำบล มีหน้าที่อะไรบ้าง
สมาชิกองค์การบริหารส่วนตตำบล มีหน้าที่
(1) ให้ความเห็นชอบแผนพัฒนาตำบล
(2) ให้ความเห็นชอบร่างข้อบังคับตำบล / ร่างข้อบังคับงบประมาณรายจ่ายประจำปี
(3) ควบคุมการทำงานของคณะผู้บริหาร
(4) เข้าร่วมประชุมสภาองค์การบริหารส่วนตำบลตามสมัยประชุม
คณะผู้บริหารองค์การบริหารส่วนตำบล (นายกองค์การบริหารส่วนตำบล รองนายกองค์การบริหารส่วนตำบล และเลขานุการองค์การบริหารส่วนตำบล) มีหน้าที่อะไรบ้าง
คณะผุ้บริหารองค์การบริหารส่วนตำบล
(1) บริหารงานขององค์การบริหารส่วนตำบล ให้เป็นไปตามข้อบังคับและแผนพัฒนาตำบล
(2) จัดท าแผนพัฒนาตำบลและข้อบังคับงบประมาณรายจ่ายประจำปี เสนอตอบสภาองค์การบริหารส่วนตำบล
(3) รายงานผลการทำงานและการใช้เงินสภาองค์การบริหารส่วนตำบลทราบ อย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง
(4) ปฏิบัติหน้าที่อื่น ที่ทางราชการมอบหมาย เข้าร่วมประชุมกับสภาองค์การบริหารส่วนตำบลตามสมัยประชุม
บทบาทหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนตำบล
บทบาทและหน้าที่ในฐานะฝ่ายนิติบัญญัติ ในฐานะฝ่ายนิติบัญญัติซึ่งเป็นผู้ที่จะต้องตรา “ข้อบังคับตำบล” ออกมาใช้ในการดูแลสวัสดิการตลอดจน “ทุกข์”และ”สุข”รวมทั้งมีอำนาจหน้าที่ถอดถอนผู้บริหารหรือสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบล ดังนั้นจึงเป็นผู้ที่ต้องยึดมั่นในหลักการประชาธิปไตยที่ต้องเผยแพร่และต้องปลูกผังแนวคิดประชาธิปไตย ไปยังประชาชนในตำบล
แนวทางปฎิบัติด้านบทบาทหน้าที่ในฐานะนิติบัญญัติ มีดังนี้
(1) ต้องยึดมั่นในกติกาประชาธิปไตย เช่น การเลือกตั้งโดยเสรี การใช้สิทธิ์คัดค้าน การโต้แย้งการแสดงความคิดเห็นอย่างกว้างขวาง ในการยอมรับและเคารพสิทธิ์ของผู้อื่น การยอมรับความตัดสิทธิ์ของ กฎหมาย
(2) ต้องมีวิธีการดำเนินชีวิต และบุคลิกลักษณะที่เป็นการส่งเสริมประชาธิปไตย เช่น เป็นผู้มีจิตใจ กว้างขวาง ฟังและเคารพในเหตุผล
ประชาชนในเขตองค์การบริหารส่วนตำบล มีสิทธิ์หน้าที่ดังนี้
(1) มีสิทธิ์สมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภา องค์การบริหารส่วนตำบล
(2) ถอดถอนสมาชิกหรือผู้บริหารองค์การบริหารส่วนตำบล
(3) เสนอให้ออกข้อบังคับองค์การบริหารส่วนตำบล
(4) แสดงเจตนารมณ์ในการรวมองค์การบริหารส่วนตำบล
(5) เข้าฟังการประชุมสภาองค์การบริหารส่วนตำบล
(6) เข้าร่วมเป็นคณะกรรมการซื้อหรือจ้างโดยวิธีสอบราคาประกวดราคาและวิธีพิเศษขององค์การบริหารส่วนตำบล อย่างน้อยคณะละ 2 คน
(7) มีหน้าที่ไปเลือกตั้งสมาชิกองค์การบริหารส่วนตำบล
(8) ปฏิบัติตามกฎหมายและข้อบังคับองค์การบริหารส่วนตำบล
(9) เสียภาษีให้แก่องค์การบริหารส่วนตำบล
(10) สนับสนุนและร่วมกิจกรรมกับองค์การบริหารส่วนตำบล
(11) ติดตามและดูแลการใช้จ่ายงบประมาณขององค์การบริหารส่วนตำบล
(12) เรื่องการเสริมสร้างชุมชนและประชาคมหมู่บ้านของตนให้เข้มแข็ง
(13) ได้รับบริการสาธารณะและการบำบัดทุกข์บำรุงสุข จากองค์การบริหารส่วนตำบล ตามอำนาจหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนตำบล
โหลดไฟล์ /upload/files/%E0%B8%AD%E0%B8%B3%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%88%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B9%8C%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%9A%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%AA%E0%B9%88%E0%B8%A7%E0%B8%99%E0%B8%95%E0%B8%B3%E0%B8%9A%E0%B8%A5.pdf
วันที่ : 14 ธันวาคม 2560 View : 1408